ต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ และรถอื่น ๆ

ซื้อง่ายผ่านแอปเงินติดล้อ รอรับได้ทันที

ซื้อ พ.ร.บ. ต่อ พ.ร.บ.
  • จ่ายหลักร้อย คุ้มครองหลักแสน
  • คุ้มครอบครบ ทั้งคนขับ คนในรถ คู่กรณี
  • คุ้มครองทันที จ่ายชดเชยแม้เป็นฝ่ายผิด

พ.ร.บ. ที่แนะนำ

ซื้อ พ.ร.บ. ที่นี่ไม่มีค่าบริการเพิ่ม

พ.ร.บ. มอเตอร์ไซค์

รถมอเตอร์ไซค์

(ส่วนบุคคล/รับจ้าง,ให้เช่า)

  • คุ้มครองทั้งคนขับ คนซ้อน และคู่กรณี
  • คุ้มครองทันทีเมื่อเกิดเหตุ สูงสุด
    500,000 บาท
  • ซื้อระยะยาว 3 ปีขึ้นไป ลดสูงสุด 100 บาท
ราคาเริ่มต้น 323.14 บาท
พ.ร.บ. รถยนต์ รถเก๋ง

รถเก๋ง / กระบะ 4 ประตู

(ส่วนบุคคล/รับจ้าง,ให้เช่า)
ราคาเริ่มต้น
645.21 บาท
ซื้อผ่านแอป
พ.ร.บ. รถบรรทุก

รถบรรทุก / กระบะ 2 ประตู

(ส่วนบุคคล)
ราคาเริ่มต้น
967.28 บาท
ซื้อผ่านแอป
พ.ร.บ. รถตู้ มากกว่า 7 ที่นั่ง

รถโดยสารมากกว่า 7 ที่นั่ง

(ส่วนบุคคล)
ราคาเริ่มต้น
1,182.35 บาท
ซื้อผ่านแอป

ทำไมต้องซื้อ พ.ร.บ.

รอรับได้ทันที ไม่มีค่าบริการเพิ่ม

เพื่อต้องการให้ความคุ้มครองแก่ผู้ประสบภัยจากการ
ใช้รถ โดยไม่สนใจว่าบุคคลนั้นจะเป็นฝ่ายผิด หรือถูก
หากเกิดความเสียหายขึ้น ผู้เสียหายจะได้รับ
ความคุ้มครองตามที่กฎหมายได้กำหนดไว้

คุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้น

(ได้รับเลยไม่ต้องรอการพิสูจน์ถูก/ผิด)


ค่ารักษาพยาบาล(จ่ายตามจริง)
ค่ารักษาพยาบาล(จ่ายตามจริง)

ไม่เกิน 30,000 บาท

สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ

35,000 บาท

รับเงินกรณีเสียชีวิต
เสียชีวิต

35,000 บาท

ค่าชดเชยรายวัน(ผู้ป่วยใน)
ค่าชดเชยรายวัน(ผู้ป่วยใน)

-

ความคุ้มครองค่าเสียหาย

(หลังพิสูจน์แล้วว่าเป็นฝ่ายถูก)


ค่ารักษาพยาบาล(จ่ายตามจริง)
ค่ารักษาพยาบาล(จ่ายตามจริง)

ไม่เกิน 80,000 บาท

สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ

200,000 - 500,000 บาท

รับเงินกรณีเสียชีวิต
เสียชีวิต

500,000 บาท

ค่าชดเชยรายวัน(ผู้ป่วยใน)
ค่าชดเชยรายวัน(ผู้ป่วยใน)

วันละ 200 บาท ไม่เกิน 20 วัน

เหตุผลที่ต้องซื้อ พ.ร.บ.

ซื้อ พ.ร.บ. ผ่านแอปได้ง่าย ๆ แค่ปลายนิ้ว!

รับกรมธรรม์อิเล็กทรอนิกส์ ภายใน 15 นาที และต่อพ.ร.บ. ล่วงหน้าได้ง่าย ๆ โหลดเลย!
ดาวน์โหลดแอป
ซื้อ พ.ร.บ. ผ่านแอป เงินติดล้อ


แนะนำสำหรับคุณ

คัดมาแล้ว!! คุ้มที่สุด

พ.ร.บ. มอเตอร์ไซค์

รถมอเตอร์ไซค์

(ส่วนบุคคล/รับจ้าง,ให้เช่า)
ราคาเริ่มต้น
323.14 บาท
ค้นหาสาขา
ประกันอุบัติเหตุ ส่วนบุคคล

เจ็บเล็ก เจ็บน้อย
ไม่ต้องคอยกังวล

เบี้ยเริ่มต้น
365 บาท/ปี
สนใจ
ประกันรถยนต์ ชั้น 2

ประกันรถชั้น 2+

ขับดี ราคาเบา
คุ้มครองครบ
ผ่อนสด 0% 6 เดือน
ราคาเริ่มต้น
5,670 บาท
สนใจ


พร้อมเคียงข้างให้บริการ

ดูแลครบ จบทุกเรื่องประกัน

ติดต่อประกันติดโล่
ขั้นตอนการเคลมประกัน
ค้นหาอู่ และศูนย์ซ่อมรถ ซ่อมห้าง ซ่อมศูนย์
ดูบิล จ่ายค่าเบี้ย ผ่านแอปเงินติดล้อ
ค้นหาสาขาประกันติดโล่/เงินติดล้อ
คำศัพท์เกี่ยวกับประกัน

หมายเหตุและเงื่อนไข

เงื่อนไขและข้อตกลงในการใช้บริการ


  • ผู้ขับขี่ที่กระทำละเมิด(ฝ่ายผิด) จะได้รับแค่ความคุ้มครอง ค่าเสียหายเบื้องต้นเท่านั้น*
  • ผู้ประสบภัย หมายรวมถึง ผู้ขับขี่ที่ถูกละเมิด ผู้โดยสาร และบุคคลภายนอก
  • จำนวนเงินค่าเสียหายเบื้องต้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของจำนวนเงิน คุ้มครองผู้ประสบภัย (ดูในกรมธรรม์)*
  • เบี้ยเริ่มต้น 323.14 บาท เป็นค่าเบี้ยประกันภัยรถจักรยานยนต์ ไม่เกิน 125 CC.
  • บริษัท เงินติดล้อ จำกัด (มหาชน) เป็นเพียงนายหน้าประกันวินาศภัยเท่านั้น และผลิตภัณฑ์ประกันภัยคุ้มครองภายใต้เงื่อนไขของบริษัทประกันภัย
  • ผู้ซื้อควรทำความเข้าใจในรายละเอียดความคุ้มครองและเงื่อนไขก่อนการตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง
  • เงื่อนไขการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ในกรณีสูญเสียอวัยวะ ให้เป็นไปตามกรมธรรม์กำหนด
  • เลขที่ใบอนุญาตนายหน้าประกันวินาศภัย ว00015/2556
  • กรมธรรม์ประกันภัย พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ เป็นของบริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด และ กรมธรรม์ประกันภัย พ.ร.บ. รถยนต์ เป็นของบริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน)
  • ติดต่อ Call Center ที่เบอร์ 1501 เพื่อสอบถามการซื้อพ.ร.บ. รถยนต์ รวมถึงการใช้งานแอปพลิเคชันในการต่อพ.ร.บ.ได้ตลอด 24 ชั่วโมง หรือสามารถติดต่อสาขาเงินติดล้อได้ทุกสาขาใกล้บ้าน และสามารถพูดคุยกับเรา ผ่าน Chat ได้ที่ Facebook ประกันติดโล่ โดย เงินติดล้อ

QA

QA คำถามที่พบบ่อย

ซื้อ พ.ร.บ. ที่ประกันติดโล่ ดียังไง

  1. ไม่มีเก็บค่าบริการเพิ่ม
  2. สะดวกรอรับได้ทันที
  3. รับรถทุกชนิด จะมอเตอร์ไซค์ เก๋ง กระบะ รถบรรทุก รถแทรกเตอร์ ประกันติดโล่ต่อ พ.ร.บ. ให้ทั้งหมด
  4. ไม่จำกัดอายุรถ รถอายุกี่ปีก็ต่อ พ.ร.บ. กับประกันติดโล่ได้

สามารถซื้อ พ.ร.บ. โดยกรอกข้อมูลได้ที่ https://www.prakantidloh.com/insurance/compulsory-third-party/

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ประกันติดโล่ Call Center โทร. 1501 กด 2 หรือ พูดคุยกับเรา ผ่าน Chat ที่ Facebook ประกันติดโล่ โดย เงินติดล้อ ได้ตลอด 24 ชม.หรือติดต่อสาขาเงินติดล้อได้ทุกสาขาใกล้บ้าน

หากพบปัญหาการใช้งาน พ.ร.บ. ทำอย่างไร

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ประกันติดโล่ Call Center โทร. 1501 กด 4 หรือ
พูดคุยกับเรา ผ่าน Chat ที่ Facebook ประกันติดโล่ โดย เงินติดล้อ ได้ตลอด 24 ชม.
หรือติดต่อสาขาเงินติดล้อได้ทุกสาขาใกล้บ้าน

จะได้รับกรมธรรม์อย่างไร

ลูกค้าจะได้รับทันทีหลังจากชำระค่า พ.ร.บ ที่สาขา และจะได้รับในรูปแบบ E-policy ทาง Email หรือ SMS ด้วย (เลือกแบบใดแบบหนึ่ง)

สามารถซื้อ พ.ร.บ. โดยกรอกข้อมูลได้ที่ https://www.prakantidloh.com/insurance/compulsory-third-party/

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ประกันติดโล่ Call Center โทร. 1501 กด 3 หรือ พูดคุยกับเรา ผ่าน Chat ที่ Facebook ประกันติดโล่ โดย เงินติดล้อ ได้ตลอด 24 ชม.หรือติดต่อสาขาเงินติดล้อได้ทุกสาขาใกล้บ้าน

ต่อ พ.ร.บ. ล่วงหน้าได้กี่วัน

สามารถซื้อ พ.ร.บ.ได้ล่วงหน้าก่อนวันครบกำหนด 90 วัน
โดยระบุวันที่ต้องการคุ้มครองด้วยตัวเองให้ถูกต้อง

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ประกันติดโล่ Call Center โทร. 1501 กด 2 หรือ พูดคุยกับเรา ผ่าน Chat ที่ Facebook ประกันติดโล่ โดย เงินติดล้อ ได้ตลอด 24 ชม. หรือติดต่อสาขาเงินติดล้อได้ทุกสาขาใกล้บ้าน

ซื้อ พ.ร.บ. ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

  1. สำเนาทะเบียนรถ
  2. บัตรประชาชน

สามารถซื้อ พ.ร.บ. โดยกรอกข้อมูลได้ที่ https://www.prakantidloh.com/insurance/compulsory-third-party/

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ประกันติดโล่ Call Center โทร. 1501 กด 2 หรือ พูดคุยกับเรา ผ่าน Chat ที่ Facebook ประกันติดโล่ โดย เงินติดล้อ ได้ตลอด 24 ชม.หรือติดต่อสาขาเงินติดล้อได้ทุกสาขาใกล้บ้าน

ดูทั้งหมด
บทความที่น่าสนใจ
  • บทลงโทษของการปล่อยให้ พ.ร.บ. ขาด
    บทความนี้เงินติดล้อจะช่วยไขข้อข้องใจให้กับคุณผู้อ่านว่า หากปล่อยทิ้งไว้ให้ พ.ร.บ. ขาดนานๆ เข้า จะมีบทลงโทษอย่างไร และจะมีวิธีแก้ไขแบบไหนได้บ้าง
    4,691
  • เตรียมตัวต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ออนไลน์ให้เรียบร้อย ก่อนหมดอายุ
    ต่อภาษีรถยนต์ ใบขับขี่หมดอายุ ไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป เพราะคุณสามารถจัดการเรื่องทุกอย่างผ่านช่องทางออนไลน์ได้แล้ว ทำได้ทุกวันไม่ติดวันเสาร์-อาทิตย์
    1,569
  • เจาะลึก พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ ทำไมถึงต้องมี แล้วเราจะใช้มันได้อย่างไร
    ทำไมเราต้องลำบากเสียเงินต่อ “พ.ร.บ. จักรยานยนต์” ทั้งที่มีประกันให้เลือกมากมาย มาดูว่า พ.ร.บ. มีความสำคัญอย่างไร ทำไมถึงต้องมีและจะใช้งานพ.ร.บ.นี้ได้อย่างไร
    11,591